ความสัมพันธ์ระหว่าง Parent และ Child
เนื่องจาก Context Diagram เป็นเพียงการแสดงภาพรวมของระบบงานและแหล่งข้อมูลภายนอกเท่านั้น ยังไม่มีการแสดงรายละเอียดของกระบวนการทำงานหรือโพรเซสต่าง ๆ ซึ่งเราต้องการมีการแตก Context Diagram ออกเป็นระดับย่อย หรือระดับลูก ต่อไปอีกเพื่ออธิบายรายละเอียดของงานต่าง ๆ ให้มากขิ่งขึ้น ซึ่งเราจะเรียกความสัมพันธ์แบบนี้ว่า Parent / Child หรือ ความสัมพันธ์แบบ แม่ / ลูก โดยละดับของ DFD ที่แตกต่างจาก Context Diagram จะเป็น DFD Level 1 และขณะเดียวกัน ถ้ามีการแตกโพรเซสย่อยของ DFD Leve1 1 ต่อไปอีก DFD ที่ย่อยลงไปจะเป็น DFD Leve1 2 ……ดังแสดงในรูปตัวอย่างรูปแสดงการแยกโพรเซสย่อย
หลังจจากที่กำลังงงอยู่กับการเขียน DFD บทความนี้ ช่วยให้สามารถเข้าใจหลักการมากยิ่งขึ้น ถือว่าเป็นประโยชน์มากๆเลยค่ะ
ตอบลบจากลิงค์ของ staff เมื่อเข้าไปอ่านต่อ ในข้อที่ 4 ที่กล่าวไว้ในเรื่อง กฎความสมดุล ทำให้เข้าใจมากขึ้นในส่วนที่ว่า "ความสมดุล DFD ในระดับแม่จะต้องสมดุลกับ DFD ในระดับลูก ซึ่งหมายความว่าข้อมูลขาเข้ากับผลลัพธ์ในระดับลูกจะต้องเหมือนกันในระดับแม่ จำนวนกระแสที่วิ่งเข้าและออกจากโพรเซสแม่ จะต้องเท่ากันกับกระแสข้อมูลที่วิ่งเข้าในระดับลูก"
ตอบลบอาจจะดู งงๆ ไปหน่อยในภาพเพราะไม่ได้มีตัวเลขแสดง แต่ถ้าเข้าไปศึกษาในลิงค์อีกทีจะมีรายละเอียดที่ดีขึ้นคะ
เห็นด้วยกับธนพร เพราะตอนแรกก็เขียนไม่เป็นแต่พอมาเห็นภาพนี้ทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นค่ะ
ตอบลบเข้าใจวิธีการสร้าง context diagram แล้ว แต่กำลังสงสัยว่าถ้าเราแตก Child ออกมาเรื่อยๆแล้งจะหยุดที่สิ้นสุดตรงไหนในเมื่อมันสามารถแตกออกมาได้เรื่อยๆ
ตอบลบ